× close
หน้าหลัก
ประวัติความเป็นมา สภาพทั่วไป ผังโครงสร้างหน่วยงาน วิสัยทัศน์-พันธกิจ อำนาจหน้าที่ ข้อมูลการติดต่อ
ผู้บริหาร สมาชิกสภา
หัวหน้าส่วนราชการ สำนักปลัด กองคลัง กองช่าง กองการศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม หน่วยตรวจสอบภายใน
ประกาศ/คำสั่ง ประกาศสอบ/รับสมัครงาน ข่าวประชาสัมพันธ์/กิจกรรม จดหมายข่าว แผ่นพับ-วารสาร
OIT ประจำปี 2567 OIT ประจำปี 2568
ถาม-ตอบ เว็บบอร์ด Social Network นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
ระบบรับฟังความคิดเห็นประชาชน ระบบสำรวจความพึงพอใจ ระบบสายด่วนผู้บริหาร
ข้อบัญญัติ แผนพัฒนาท้องถิ่น 5 ปี แผนการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี แผนอัตรากำลัง 3 ปี แผนพัฒนาบุคลากร 3 ปี แผนการตรวจสอบภายในประจำปี แผนเทคโนโลยีสารสนเทศแม่บท แผนพัฒนาการศึกษา 3 ปี
นโยบาย/แผนการบริหารทรัพยากรบุคคล การดำเนินการตามนโยบาย/แผนการบริหารทรัพยากรบุคคล หลักเกณฑ์การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล รายงานผลการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลประจำปี
แผนดำเนินงานประจำปี รายงานการกากับติดตามการดำเนินงานประจำปี รอบ 6 เดือน รายงานผลการดำเนินงานประจำปี คู่มือหรือมาตรฐานการปฏิบัติงาน คู่มือหรือมาตรฐานการให้บริการ ข้อมูลเชิงสถิติการให้บริการ รายงานผลการสำรวจความพึงพอใจการให้บริการ รายงานการจัดการสารสนเทศ
แนวปฏิบัติการจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ ช่องทางแจ้งเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ ข้อมูลเชิงสถิติเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ การเปิดโอกาสให้เกิดการมีส่วนร่วม
แผนการจัดซื้อจัดจ้าง/แผนการจัดหาพัสดุ ราคากลาง eGP ประกาศจัดซื้อจัดจ้าง eGP รายงานการจัดซื้อจัดจ้างประจำเดือน รายงานการจัดซื้อจัดจ้างรายไตรมาส รายงานการจัดซื้อจัดจ้างประจำปี
แผนงบประมาณรายจ่ายประจำปี รายงานการรับจ่ายเงินประจำเดือน รายงานการรับจ่ายเงินรายไตรมาส รายงานการรับจ่ายเงินประจำปี ประชาสัมพันธ์การจัดเก็บภาษี ความรู้เกี่ยวกับภาษีท้องถิ่น
ประกาศเจตนารมณ์นโยบาย No Gift Policy จากการปฏิบัติหน้าที่ การสร้างวัฒนธรรม No Gift Policy รายงานผลตามนโยบาย No Gift Policy
การประเมินความเสี่ยงการทุจริตและประพฤติมิชอบประจำปี การดำเนินการเพื่อจัดการความเสี่ยงการทุจริตและประพฤติมิชอบ แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปี รายงานการกำกับติดตามการดำเนินการป้องกันการทุจริตประจำปี รอบ 6 เดือน รายงานผลการดำเนินการป้องกันการทุจริตประจำปี
ประมวลจริยธรรมสำหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐ การขับเคลื่อนจริยธรรม การประเมินจริยธรรมเจ้าหน้าที่ของรัฐ มาตรการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสภายในหน่วยงาน การดำเนินการตามมาตรการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสภายในหน่วยงาน
ประกาศ/คำสั่งสภาฯ รายงานการประชุมสภาฯ ข่าวกิจกรรมสภาฯ
ดาวน์โหลดแบบฟอร์มคำร้อง ขอความรับการสนับสนุนน้ำเพื่อการอุปโภคบริโภค ขอรับการรับการสนับสนุนรถกระเช้าซ่อมไฟรายทาง ขอรับการรับการสนับสนุนรถดับเพลิง ขอรับการสนับสนุนเต้นท์ ขอรับการสนับสนุนวัสดุอุปกรณ์เครื่องมือ ขอรับการสนับสนุนบุคลากร ขออนุญาตใช้อาคารสถานที่
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง คู่มือประชาชน
ประกาศ/คำสั่งสภาฯ รายงานการประชุมสภาฯ ข่าวกิจกรรมสภาฯ
ผลิตภัณฑ์เด่นของตำบล สถานที่สำคัญ-แหล่งท่องเที่ยว ศิลปวัฒนธรรมประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น
การจัดการสารสนเทศ ความรู้ที่สนับสนุน วิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ขององค์กร ความรู้จากประสบการณ์ที่องค์กรได้สั่งสมมา ความรู้ที่ใช้แก้ไขปัญหาที่องค์กรประสบอยู่ในปัจจุบัน ความรู้อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาองค์กร
ข้อมูลการติดต่อ
☰ Menu
หน้าหลัก

ข้อมูลพื้นฐาน

ประวัติความเป็นมา สภาพทั่วไป ผังโครงสร้างหน่วยงาน วิสัยทัศน์-พันธกิจ อำนาจหน้าที่ ข้อมูลการติดต่อ

การปฏิสัมพันธ์ข้อมูล

ถาม-ตอบ เว็บบอร์ด Social Network นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

ท้องถิ่นของเรา

ผลิตภัณฑ์เด่นของตำบล สถานที่สำคัญ-แหล่งท่องเที่ยว ศิลปวัฒนธรรมประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น

บุคลากร

คณะผู้บริหาร สมาชิกสภา หัวหน้าส่วนราชการ สำนักปลัด กองคลัง กองช่าง กองการศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม หน่วยตรวจสอบภายใน

รับฟังความคิดเห็น

ระบบรับฟังความคิดเห็นประชาชน ระบบสำรวจความพึงพอใจ ระบบสายด่วนผู้บริหาร

กิจการสภา

ประกาศ/คำสั่งสภาฯ รายงานการประชุมสภาฯ ข่าวกิจกรรมสภาฯ

ข่าวประชาสัมพันธ์

ประกาศ/คำสั่ง ประกาศสอบ/รับสมัครงาน ข่าวประชาสัมพันธ์/กิจกรรม จดหมายข่าว แผ่นพับ-วารสาร

การจัดการความรู้

การจัดการสารสนเทศ ความรู้ที่สนับสนุน วิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ขององค์กร ความรู้จากประสบการณ์ที่องค์กรได้สั่งสมมา ความรู้ที่ใช้แก้ไขปัญหาที่องค์กรประสบอยู่ในปัจจุบัน ความรู้อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาองค์กร

แผนยุทธศาสตร์/แผนพัฒนา

ข้อบัญญัติ แผนพัฒนาท้องถิ่น 5 ปี แผนการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี แผนอัตรากำลัง 3 ปี แผนพัฒนาบุคลากร 3 ปี แผนการตรวจสอบภายในประจำปี แผนเทคโนโลยีสารสนเทศแม่บท แผนพัฒนาการศึกษา 3 ปี

การบริหาร/พัฒนาทรัพยากรบุคคล

นโยบาย/แผนการบริหารทรัพยากรบุคคล การดำเนินการตามนโยบาย/แผนการบริหารทรัพยากรบุคคล หลักเกณฑ์การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล รายงานผลการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลประจำปี

การบริหารงาน

แผนดำเนินงานประจำปี รายงานการกากับติดตามการดำเนินงานประจำปี รอบ 6 เดือน รายงานผลการดำเนินงานประจำปี คู่มือหรือมาตรฐานการปฏิบัติงาน คู่มือหรือมาตรฐานการให้บริการ ข้อมูลเชิงสถิติการให้บริการ รายงานผลการสำรวจความพึงพอใจการให้บริการ รายงานการจัดการสารสนเทศ

การส่งเสริมความโปร่งใส

แนวปฏิบัติการจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ ช่องทางแจ้งเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ ข้อมูลเชิงสถิติเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ การเปิดโอกาสให้เกิดการมีส่วนร่วม

การจัดซื้อจัดจ้าง

แผนการจัดซื้อจัดจ้าง/แผนการจัดหาพัสดุ ราคากลาง eGP ประกาศจัดซื้อจัดจ้าง eGP รายงานการจัดซื้อจัดจ้างประจำเดือน รายงานการจัดซื้อจัดจ้างรายไตรมาส รายงานการจัดซื้อจัดจ้างประจำปี

การเงินการคลัง

แผนงบประมาณรายจ่ายประจำปี รายงานการรับจ่ายเงินประจำเดือน รายงานการรับจ่ายเงินรายไตรมาส รายงานการรับจ่ายเงินประจำปี ประชาสัมพันธ์การจัดเก็บภาษี ความรู้เกี่ยวกับภาษีท้องถิ่น

นโยบาย No Gift Policy

ประกาศเจตนารมณ์นโยบาย No Gift Policy จากการปฏิบัติหน้าที่ การสร้างวัฒนธรรม No Gift Policy รายงานผลตามนโยบาย No Gift Policy

การดำเนินการเพื่อป้องกันการทุจริต

การประเมินความเสี่ยงการทุจริตและประพฤติมิชอบประจำปี การดำเนินการเพื่อจัดการความเสี่ยงการทุจริตและประพฤติมิชอบ แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปี รายงานการกำกับติดตามการดำเนินการป้องกันการทุจริตประจำปี รอบ 6 เดือน รายงานผลการดำเนินการป้องกันการทุจริตประจำปี

มาตรการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใส

ประมวลจริยธรรมสำหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐ การขับเคลื่อนจริยธรรม การประเมินจริยธรรมเจ้าหน้าที่ของรัฐ มาตรการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสภายในหน่วยงาน การดำเนินการตามมาตรการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสภายในหน่วยงาน

ร้องเรียนร้องทุกข์

ระบบรับเรื่องร้องเรียน/ร้องทุกข์ ระบบรับเรื่องร้องเรียนการทุจริต ระบบรับเรื่องร้องเรียนการบริหารทรัพยากรบุคคล

การเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ OIT

OIT ประจำปี 2567 OIT ประจำปี 2568

e-Service

ดาวน์โหลดแบบฟอร์มคำร้อง ขอความรับการสนับสนุนน้ำเพื่อการอุปโภคบริโภค ขอรับการรับการสนับสนุนรถกระเช้า ขอรับการรับการสนับสนุนรถดับเพลิง ขอรับการสนับสนุนเต้นท์ ขอรับการสนับสนุนวัสดุอุปกรณ์เครื่องมือ ขอรับการสนับสนุนบุคลากร ขออนุญาตใช้อาคารสถานที่

คู่มือสำหรับประชาชน

กฎหมายที่เกี่ยวข้อง คู่มือประชาชน
หน้าหลัก ประจำปี 2568 ประจำปี 2568 ความพึงพอใจ
Hot News :
รายงานผลการจัดเก็บรายได้ที่จัดเก็บเอง ประจำปีงบประมาณ 2567 องค์การบริหารส่วนตำบลนาสะไมย์ อำเภอเมืองยโสธ จังหวัดยโสธร
การตรวจสอบรายงานการเงินสำหรับปีสิ้นสุด วันที่ 30 กันยายน 2567 ขององค์การบริหารส่วนตำบลนาสะไมย์
เอกสารประกวดราคาซื้อด้วยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (e-bidding) เลขที่ 03/2568 ประกวดราคาซื้อจัดซื้อรถบรรทุกขยะ จำนวน 1 คัน ขนาด 6 ตัน 6 ล้อ ด้วยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (e-bidding)
ประกาศ ประกวดราคาซื้อจัดซื้อรถบรรทุกขยะ จำนวน 1 คัน ขนาด 6 ตัน 6 ล้อ ด้วยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (e-bidding)
ประกาศ(ร่าง)วิจารณ์เอกสารประกวดราคาจัดซื้อรถยนต์บรรทุกขยะ ขนาด 6 ตัน 6 ล้อ จำนวน 1 คัน
slide 25 to 30 of 7
slide 35 to 40 of 31
สายด่วนผู้บริหาร
รับฟังความคิดเห็นประชาชน
ร้องเรียนร้องทุกข์
ร้องเรียนการทุจริต
ร้องเรียนการบริหารทรัพยากรบุคคล
e-Service บริการออนไลน์
ถามตอบ Q&A
สำรวจความพึงพอใจ
ผู้รับเบียยังชีพ
ประเมินภาษีท้องถิ่น
ทะเบียนพาณิชย์
ขออนุญาตก่อสร้าง
คู่มือประชาชน
อำนาจหน้าที่
ข้อมูลการติดต่อ

ข้อมูลทั่วไป

สภาพทั่วไป

[ 1 กุมภาพันธ์ 2567 ]

       ทำเลที่ตั้งตำบล ตำบลนาสะไมย์เป็น 1 ใน 78 ตำบล ของจังหวัดยโสธร ในเขตอำเภอเมืองยโสธร ตำบลนาสะไมย์มีอาณาเขตพื้นที่อยู่ติดกับท้องถิ่นใกล้เคียง 4 ส่วน คือ ตำบลไผ่ ตำบลหนองเรือ ตำบลสิงห์ ตำบลหนองหิน และตำบลทุ่งแต้ ดังนี้

อาณาเขต

  • ทิศเหนือ ติดกับเขตตำบลไผ่ อำเภอทรายมูล จังหวัดยโสธร โดยมีแนวเขตเริ่มต้นจากกึ่งกลางถนนสาธารณะ ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ จรดถนนเจ้าเสด็จลงไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ตามถนนเจ้าเสด็จ ถึงลำห้วยทวน จากกึ่งกลางลำห้วยทวนไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ถึงบ้านหนองจาน รวมระยะทางด้านทิศเหนือประมาณ 5 กิโลเมตร
  • ทิศใต้ ติดกับเขตตำบลหนองเรือและตำบลสิงห์ อำเภอเมืองยโสธร โดยมีแนวเขตเริ่มต้นจากกึ่งกลางถนนสาธารณะสายนาสะไมย์-หนองหิน ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ จรดถนนสายหนองไฮ ตำบลนาสะไมย์ ไปบ้านดอนกลาง ตำบลหนองเรือ ไปตามทางสาธารณะประโยชน์ จรดลำห้วยทวนทางด้านทิศใต้ รวมระยะทางด้านทิศใต้ ประมาณ 2.5 กิโลเมตร โดยตำบลนาสะไมย์มีระยะทางห่างจากที่ว่าการอำเภอเมืองยโสธร ประมาณ 15 กิโลเมตร
  • ทิศตะวันออก ติดกับเขตตำบลหนองหิน อำเภอเมืองยโสธร โดยมีแนวเขตเริ่มต้นจากกึ่งกลางถนนสาธารณะสายนาสะไมย์-หนองหิน ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ถึงสายหนองศาลา-หนองหิน รวมระยะทางด้านทิศตะวันออกประมาณ 4.5 กิโลเมตร
  • ทิศตะวันตก ติดกับเขตตำบลทุ่งแต้ อำเภอเมืองยโสธรโดยมีแนวเขตเริ่มจากลำห้วยทวน บ้านนาสีนวล ตำบลหนองเรือ ไปทางทิศเหนือจนสิ้นสุดลำห้วยทวนที่บ้านหนองจาน ตำบลนาสะไมย์ รวมระยะทางด้านทิศตะวันตก ประมาณ 4 กิโลเมตร

เขตการปกครอง

      เขตปกครอง ตำบลนาสะไมย์มีพื้นที่ในการปกครองทั้งหมด 13 หมู่บ้าน ดังนี้

  1. หมู่ที่ 1 บ้านนาสะไมย์ นายสงคราม จันทร์น้อย กำนันตำบลนาสะไมย์ เบอร์โทรศัพท์ 0819766267
  2. หมู่ที่ 2 บ้านนาสะไมย์ นายผดุงศักดิ์ เจริญคุณ เป็นผู้ใหญ่บ้าน เบอร์โทรศัพท์ 0878706615
  3. หมู่ที่ 3 บ้านหนองไฮ นายไพฑูรย์ แบบทอง เป็นผู้ใหญ่บ้าน เบอร์โทรศัพท์ 0927761035
  4. หมู่ที่ 4 บ้านนาจาน นางอรสา เจริญบุตร เป็นผู้ใหญ่บ้าน เบอร์โทรศัพท์ 0817896327
  5. หมู่ที่ 5 บ้านนารา นายชม เนตรหาญ เป็นผู้ใหญ่บ้าน เบอร์โทรศัพท์ 0926251259
  6. หมู่ที่ 6 บ้านผือฮี นางวงเดือน เวฬุวนารักษ์ เป็นผู้ใหญ่บ้าน เบอร์โทรศัพท์ 0XXXXXXXXX
  7. หมู่ที่ 7 บ้านชาด นายอนุชา บุญยก เป็นผู้ใหญ่บ้าน เบอร์โทรศัพท์ 0981795295
  8. หมู่ที่ 8 บ้านหนองศาลา นางสาวกัญญาณัฐ ปทุมวัน เป็นผู้ใหญ่บ้าน เบอร์โทรศัพท์ 0624914741
  9. หมู่ที่ 9 บ้านนาดีน้อย นายเจียงศักดิ์ โทบุดดี เป็นผู้ใหญ่บ้าน เบอร์โทรศัพท์ 0819995637
  10. หมู่ที่ 10 บ้านหนองจาน นางวาฐินี เทียมพล เป็นผู้ใหญ่บ้าน เบอร์โทรศัพท์ 0813891478
  11. หมู่ที่ 11 บ้านนาสะไมย์ นางบุบผา เต้าทอง เป็นผู้ใหญ่บ้าน เบอร์โทรศัพท์ 0883510295
  12. หมู่ที่ 12 บ้านนาดีน้อย นางจุรี แสงโชติ เป็นผู้ใหญ่บ้าน เบอร์โทรศัพท์ 0821408240
  13. หมู่ที่ 13 บ้านนาสะไมย์ นายวุฒิ พันดวง เป็นผู้ใหญ่บ้าน เบอร์โทรศัพท์ 0973407151

 

ดูรายละเอียด >>

ผังโครงสร้างหน่วยงาน

[ 1 กุมภาพันธ์ 2567 ]

     องค์การบริหารส่วนตำบลนาสะไมย์ ได้จัดทำข้อมูลผังโครงสร้างหน่วยงาน องค์การบริหารส่วนตำบลนาสะไมย์ อำเภอเมืองยโสธ จังหวัดยโสธร เพื่อประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้ แก่ผู้สนใจ จึงประชาสัมพันธ์มาเพื่อทราบโดยทั่วกัน

ดูรายละเอียด >>

อำนาจหน้าที่

[ 1 กุมภาพันธ์ 2567 ]

อำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบล

   อบต. มีหน้าที่ตามพระราชบัญญัติสภาตําบล และองค์การบริหารส่วนตําบล พ.ศ. 2537 และ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 7 พ.ศ. 2562)

  • 1.พัฒนาตําบลทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (มาตรา 66)
  • 2.มีหน้าที่ต้องทําตามมาตรา 67 ดังนี้
    1. จัดให้มีและบํารุงทางน้ำและทางบก
    2. การรักษาความสะอาดของถนน ทางน้ํา ทางเดินและที่สาธารณะ รวมทั้งการกําจัดขยะมูลฝอยและสิ่ง ปฏิกูล
    3. ป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อ
    4. ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
    5. ส่งเสริมการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
    6. ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็กและเยาวชน ผู้สูงอายุและพิการ
    7. คุ้มครอง ดูแลและบํารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
    8. บํารุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่นและวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น
    9. ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ทางราชการมอบหมาย
  • 3. มีหน้าที่ที่อาจทํากิจกรรมในเขต อบต. ตามมาตรา 68 ดังนี้
    1. ให้มีน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภคและการเกษตร
    2. ให้มีและบํารุงไฟฟ้าหรือแสงสว่างโดยวิธีอื่น
    3. ให้มีและบํารุงรักษาทางระบายน้ำ
    4. ให้มีและบํารุงสถานที่ประชุม การกีฬา การพักผ่อนหย่อนใจและสวนสาธารณะ
    5. ให้มีและส่งเสริมกลุ่มเกษตรกร และกิจการสหกรณ์
    6. ส่งเสริมให้มีอุตสาหกรรมในครอบครัว
    7. บํารุงและส่งเสริมการประกอบอาชีพ
    8. การคุ้มครองดูแลและรักษาทรัพย์สินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน
    9. หาผลประโยชน์จากทรัพย์สินของ อบต.
    10. ให้มีตลาด ท่าเทียบเรือ และท่าข้าม
    11. กิจการเกี่ยวกับการพาณิชย์
    12. การท่องเที่ยว
    13. การผังเมือง

    อำนาจหน้าที่ตามแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจ

         พระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองท้องถิ่น พ.ศ. 2542 กำหนดให้ อบต.มีอำนาจและหน้าที่ในการจัดระบบการบริการสาธารณะ เพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นของตนเองตามมาตรา 16 ดังนี้

    1. การจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นของตนเอง
    2. การจัดให้มี และบำรุงรักษาทางบกทางน้ำ และทางระบายน้ำ
    3. การจัดให้มีและควบคุมตลาด ท่าเทียบเรือ ท่าข้าม และที่จอดรถ
    4. การสาธารณูปโภค และการก่อสร้างอื่นๆ
    5. การสาธารณูปการ
    6. การส่งเสริม การฝึก และการประกอบอาชีพ
    7. คุ้มครอง ดูแล และบำรุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
    8. การส่งเสริมการท่องเที่ยว
    9. การจัดการศึกษา
    10. การสังคมสงเคราะห์ และการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก สตรี คนชรา และผู้ด้อยโอกาส
    11. การบำรุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น
    12. การปรับปรุงแหล่งชุมชนแออัด และการจัดการเกี่ยวกับที่อยู่อาศัย
    13. การจัดให้มี และบำรุงรักษาสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ
    14. การส่งเสริมกีฬา
    15. การส่งเสริมประชาธิปไตย ความเสมอภาค และสิทธิเสรีภาพของประชาชน
    16. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของราษฎรในการพัฒนาท้องถิ่น
    17. การรักษาความสะอาด และความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง
    18. การกำจัดมูลฝอย สิ่งปฏิกูล และน้ำเสีย
    19. การสาธารณสุข การอนามัยครอบครัว และการรักษาพยาบาล
    20. การจัดให้มี และควบคุมสุสาน และฌาปนสถาน
    21. การควบคุมการเลี้ยงสัตว์
    22. การจัดให้มี และควบคุมการฆ่าสัตว์
    23. การรักษาความปลอดภัย ความเป็นระเบียบเรียบร้อย และการอนามัย โรงมหรสพ และสาธารณสถานอื่นๆ
    24. การจัดการ การบำรุงรักษา และการใช้ประโยชน์จากป่าไม้ ที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
    25. การผังเมือง
    26. การขนส่ง และการวิศวกรรมจราจร
    27. การดูแลรักษาที่สาธารณะ
    28. การควบคุมอาคาร
    29. การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
    30. การรักษาความสงบเรียบร้อย การส่งเสริมและสนับสนุนการป้องกันและรักษาความปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์สิน
    31. กิจอื่นใด ที่เป็นผลประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นตามที่คณะกรรมการประกาศกำหนด
    ดูรายละเอียด >>

    ประวัติความเป็นมา

    [ 1 กุมภาพันธ์ 2567 ]


    ตราสัญลักษณ์

          คำว่า “นาสะไมย์ ” มีลักษณะแปลกทั้งการออกเสียงและการเขียนที่ไม่เคยพบที่ไหนมาก่อน ด้วยเหตุนี้จึงส่งผลมาถึงการเสาะค้นหาความหมายที่ถูกต้องหรือใกล้เคียงความจริงตราบปัจจุบันข้อสันนิษฐานทั้งปวงยังถกเถียงกันอยู่ และสรุปก็ยังอยู่ห่างไกล ราวกับเป็นถ้อยคำลี้ลับ ที่คอยกระซิบเตือนอนุชนรุ่นหลัง ให้หันกลับไปมองภาพอดีตที่ผ่านมา แม้มิใช่ “ลายแทง” ที่จะไปขุดค้นหาสมบัติมหาศาล แต่อาจเป็นแสงสว่างที่ทำให้รู้จักรากเหง้าตนเองได้ดีขึ้น ทั้งความหมายของถ้อยคำและประวัติความเป็นมาของชุมชน

          คำว่า “นาสะไมย์ ” มีลักษณะแปลกทั้งการออกเสียงและการเขียนที่ไม่เคยพบที่ไหนมาก่อน ด้วยเหตุนี้จึงส่งผลมาถึงการเสาะค้นหาความหมายที่ถูกต้องหรือใกล้เคียงความจริงตราบปัจจุบันข้อสันนิษฐานทั้งปวงยังถกเถียงกันอยู่ และสรุปก็ยังอยู่ห่างไกล ราวกับเป็นถ้อยคำลี้ลับ ที่คอยกระซิบเตือนอนุชนรุ่นหลัง ให้หันกลับไปมองภาพอดีตที่ผ่านมา แม้มิใช่ “ลายแทง” ที่จะไปขุดค้นหาสมบัติมหาศาล แต่อาจเป็นแสงสว่างที่ทำให้รู้จักรากเหง้าตนเองได้ดีขึ้น ทั้งความหมายของถ้อยคำและประวัติความเป็นมาของชุมชน

          คำว่า “นาสะไมย์ ” มีลักษณะแปลกทั้งการออกเสียงและการเขียนที่ไม่เคยพบที่ไหนมาก่อน ด้วยเหตุนี้จึงส่งผลมาถึงการเสาะค้นหาความหมายที่ถูกต้องหรือใกล้เคียงความจริงตราบปัจจุบันข้อสันนิษฐานทั้งปวงยังถกเถียงกันอยู่ และสรุปก็ยังอยู่ห่างไกล ราวกับเป็นถ้อยคำลี้ลับ ที่คอยกระซิบเตือนอนุชนรุ่นหลัง ให้หันกลับไปมองภาพอดีตที่ผ่านมา แม้มิใช่ “ลายแทง” ที่จะไปขุดค้นหาสมบัติมหาศาล แต่อาจเป็นแสงสว่างที่ทำให้รู้จักรากเหง้าตนเองได้ดีขึ้น ทั้งความหมายของถ้อยคำและประวัติความเป็นมาของชุมชน

          อย่างไรก็ตาม ในเบื้องต้นนี้ การมองกลับไปยังอดีตตามเส้นทางเคลื่อนย้ายของคนกลุ่มแรกๆ ที่มารวมกันสร้างบ้าน “นาสะไมย์” เราอาจได้ข้อสันนิษฐานบางประการเกี่ยวกับความหมายนั้น

          ล่วงมาแล้วประมาณร้อยปีเศษ ชาวบ้านจำนวนหนึ่งได้อพยพมาตั้งบ้านเรือนอยู่ที่ “โนนแดง” ห่างจากหมู่บ้านปัจจุบันไปทางทิศทิศตะวันตกเฉียงใต้ ประมาณ 4-5 กิโลเมตร ตรงนั้นพบร่องรอยความเป็นอยู่หลายอย่าง เช่น เสาบ้านเก่า บ่อร้าง ถ้วย หม้อดินเผา และจากการบอกเล่าของคนเฒ่าคนแก่ พอจับเค้าความได้ว่า เส้นทางเกวียน 4 สาย ที่เลื่อนเข้ามาบรรจบกันนั้นมาจากเส้นทางใหญ่ๆ ดังนี้

    1. มาจากบ้านไผ่ อ.หัวตะพาน จ.อำนาจเจริญ (แยกออกจาก จ.อุบลราชธานี)
    2. มาจากบ้านเหล่า บ้านถิ่น อ.คำเขื่อนแก้ว จ.ยโสธร
    3. มาจากบ้านหนองอีตุ้ม อ.เมืองยโสธร
    4. มาจากบ้านโพธิ์ศรี อ.ป่าติ้ว จ.ยโสธร

          การก่อตั้งชุมชนดำเนินไปอย่างเรียบง่ายตามแบบแผนความเชื่อดั้งเดิม กล่าวคือ ผู้ได้รับฉันทานุมัติจากชุมชนให้ดำรงตำแหน่ง “หมอจ้ำ” ทำพิธีขอขมาต่อเทวดาอารักษ์ บอกกล่าว ถึงจุดประสงค์การเข้ามาขอพึ่งพิง เพื่อแสดงความอ่อนน้อมถ่อมตนต่อภูมิสถาน

          จากนั้น แต่ละครอบครัวได้แยกย้ายออกจับจองผืนดินเพื่อประกอบอาชีพ หักร้างถางพงด้วยความขยันหมั่นเพียร และความเข้มแข็ง โดยหวังจะลงหลักปักฐานอยู่โนนแดงนี้อย่างถาวร เพราะมีทำเลที่เหมาะสมทุกประการ

          แต่แล้วเหตุการณ์อันไม่คาดฝันก็เกิดขึ้น เมื่อเพื่อนบ้านคนหนึ่งเสียชีวิตลงอย่างกระทันหัน ซึ่งชาวบ้านเรียกว่า “ตายโหง” ความสงบสุขที่เคยมีมาก่อนก็สลายลงพลัน การเกิดและการตายเป็นสิ่งที่ทุกคนคุ้นเคยและใกล้ชิดก็จริง แต่ชีวิตที่ถูกคร่าไปอย่างโหดร้ายเช่นนี้ ย่อมเป็นความพิโรธจากอำนาจอำมหิตแห่งป่าดงอย่างไม่ต้องสงสัย และไม่อาจคาดได้ว่าเหยื่อรายต่อไปคือใคร ดูเหมือนว่าสิ่งที่ไม่อาจเข้าใจหรือซ่อนเร้นแอบแฝงอยู่ตามเงามืด ย่อมซักนำหายนะมาเคาะประตูได้เสมอ

          ศพตายโหงจะต้องนำกลับไปฝังโดยด่วนและไม่มีพิธีกรรมใดๆ เพราะเชื่อว่า ถ้าเผาศพคนตายโหง คนอื่นในครอบครัวหรือผู้คนในหมู่บ้านก็จะตายลงแบบเดียวกัน ความหวั่นกลัวของชาวบ้านรุนแรงขึ้นจนไม่มี “อาคม” ใดจะช่วยปัดเป่าได้ เมื่อตกกลางคืน มีเสียงหมาหอนดังโหยหวนออกมาจากป่าช้า บางคืนมีเสียงคล้ายคนเคาะโลงศพดังอยู่รอบหมู่บ้าน เมื่อจิตใจจดจ่ออยู่ในความกลัว ทุกสิ่งทุกอย่างล้วนเป็นตัวแทนของภูติผีทั้งนั้น จนกระทั่งไม่สะดวกในการทำมาหากิน เสมือนถูกจดจ้องอยู่ด้วยสายตากระหายหิวของภูติผี

          เมื่อทนเสียงเย็นยะเยือกในความมืดไม่ไหว จึงตัดสินใจทิ้งถิ่น “โนนแดง” ไว้ข้างหลังมุ่งหน้ามาทางทิศตะวันออกซึ่งยังเป็นที่รกร้างว่างเปล่า ประกอบกับมีหนองน้ำธรรมชาติกระจายกันอยู่หลายแห่ง สลับกับป่าโปร่งและทุ่งราบ ตอนแรกตั้งบ้านเรือนอยู่รอบหนองน้ำกลางป่า ซึ่งปัจจุบันเรียกว่า “หนองสิม”อันเป็นศูนย์รวมชาวบ้านในการประกอบพิธีกรรมทางศาสนาและความเชื่อพื้นถิ่นที่ยังแนบแน่นอยู่ในชีวิต แต่ก็ยังถูกรบกวนจากอาถรรพ์ป่าอยู่นั่นเอง ด้วยการเจ็บป่วยเรื้อรังแรมปีที่ชาวบ้านั้นเข็ดขยาดนั้นคือ “ป่วยปี” ไม่มีทางเยียวยาให้หายป่วยเป็นปกติได้ แม้ว่าผู้มีอาคมเก่งกล้าในนาม “หมอจ้ำ” จะประกอบพิธีทางไสยศาสตร์แล้วก็ยังมีชาวบ้านหลายคนล้มป่วยและตายรวมกับถูกเข่นฆ่าจากวิญญาณบ้าคลั่งไม่เลิกลา มันเป็น “อาเพท” ที่ไม่มีสิ่งศักดิ์สิทธิ์ใดจะบำบัดได้ ดังนั้น หลายครอบครัวจึงขนย้ายสัมภาระ ปลีกตัวออกไปทาง “ดงไผ่” และ “ดงหญ้าหวาย” ด้านทิศตะวันออก

          เมื่อสายฝนพร่างพราวจากฟากฟ้า หยาดลงสู่ผืนดินที่เคยแห้งผาก บทเพลงจากแผ่นดินบรรเลงขึ้น เกิดความชุ่มชื่น อันเป็นความปรารถนาที่ยิ่งใหญ่จากธรรมชาติ ไม่เพียงแต่ซึมซ่านลงในผืนดินเท่านั้น แต่ทว่า ได้พร่างพรูเข้าหัวใจของผู้คน อย่างถ้วนหน้า

          เมื่ออาการสะพรึงกลัวค่อยๆเลือนหายจากจิตใจ ความแน่วแน่ก็กลับมาอีกครั้ง ชาวบ้านจึงลงมือสร้างเรือน และแบ่งพื้นที่ทำกินอย่างถาวรตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา นั่นอาจเป็นที่มาของชื่อหมู่บ้านจาก “นาซะใหม่” กลายเสียงมาเป็น “นาสะไมย์” เช่นเดียวกันอาจจะเพี้ยนมาจากคำว่า “คำพะมัย” หรือ “นาหญ้าหวาย” ก็เป็นไปได้ทั้งนั้น เพราะการเสาะค้นหาความจริงในเบื้องต้นนี้ย่อมไม่มีข้อจำกัดในสมมติฐาน

          ปัจจุบัน ชาวบ้านนาสะไมย์ ยังกล่าวขานถึงร่องรอยอดีตเหล่านั้นอยู่ไม่ว่าจะเป็น “บ้านโนนแดง” หรือ “บ้านร้าง-หนองสิม” เพียงแต่แง่มุมปลีกย่อยในการบอกกล่าวย่อมแตกต่างกันออกไป อย่างไร ก็ตาม เรื่องราวพื้นๆ เหล่านี้อาจดูเป็นเรื่องเล็กน้อยในการรับรู้ แต่นี่คือ ประวัติศาสตร์สามัญชนในท้องถิ่น ผู้ฝ่าฟันอุปสรรคที่เกิดจากธรรมชาติและเหนือธรรมชาติมาอย่างล้มลุกคลุกคลาน ย่อมควรค่าแก่การสดับและจดจำ

     

     

    • Click to enlarge image L-02.jpg
    • Click to enlarge image L-03.jpg
    • Click to enlarge image L-04.jpg
    • Click to enlarge image L-05.jpg
    • Click to enlarge image L-06.jpg
    • Click to enlarge image L-08.jpg
    • Click to enlarge image L-09.jpg
    • Click to enlarge image L0-01.jpg
    •  
    View the embedded image gallery online at:
    https://nasamai.go.th/news/activity-news/itemlist/category/20-about-us#sigProGalleria9a123108aa

    ดูรายละเอียด >>

    วิสัยทัศน์-พันธกิจ

    [ 1 กุมภาพันธ์ 2567 ]

         องค์การบริหารส่วนตำบลนาสะไมย์ อำเภอเมือง จังหวัดยโสธร มีนายกองค์การบริหารส่วนตำบลนาสะไมย์ เป็นผู้บริหารสูงสุด มีภารกิจอำนาจหน้าที่ภายใต้ระเบียบ กฎหมาย ข้อบังคับและมติครม.ที่เกี่ยวข้อง ได้กำหนด วิสัยทัศน์การพัฒนา (vision) การพัฒนา ภาพการณ์ที่ปรารถนาให้เกิดขึ้นในอนาคต ของ องค์การบริหารส่วนตำบลนาสะไมย์ ดังนี้

    วิสัยทัศน์ (Vision)

         วิสัยทัศน์การพัฒนา (vision) หมายถึง สภาพการณ์ที่เราปรารถนาให้เกิดขึ้นในอนาคต

    พัฒนาตำบลทุกภารกิจ เพิ่มประสิทธิภาพการบริหาร บนพื้นฐานการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน เน้นการพัฒนา ”คน” ให้มีคุณภาพ เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล ประสานการเรียนรู้สู่การพัฒนาแบบมีส่วนร่วม แก้ไขปัญหา พัฒนาท้องถิ่นอย่างยั่งยืน และครบวงจร

    พันธกิจ (Mission)

         พันธกิจ (Mission) หมายถึง ขอบเขตของบทบาทหน้าที่หลักขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่จำเป็นต่อการบรรลุวิสัยทัศน์ (ต้องทำอะไรถึงจะบรรลุตามวิสัยทัศน์ที่เรากำหนดไว้)

    1. ส่งเสริมสร้างคนให้มีคุณภาพ
    2. ส่งเสริมเศรษฐกิจ การผลิตสินค้า และบริการ
    3. สรรค์สร้างโครงสร้าง ผังเมืองยโสธร และสิ่งแวดล้อม
    4. สร้างค่าการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์
    5. พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล และการมีส่วนร่วม

     

    เป้าประสงค์ (Goal)

         เป้าประสงค์ หมายถึง การระบุสภาพที่ต้องการให้สำเร็จ (การดำเนินการ เพื่อให้เกิดอะไร ถึงจะบรรลุตามวิสัยทัศน์หรือภาพความสำเร็จของวิสัยทัศน์)

    1. จัดสร้างศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จัดมอบทุนการศึกษา อุปกรณ์และสื่อทางการศึกษา ปรับปรุงสถานศึกษา จัดหาอาหารเสริมให้แก่เด็กนักเรียน
    2. สนับสนุนงบประมาณช่วยเหลือ ผู้สูงอายุ ผู้ด้อยโอกาส และผู้พิการ
    3. ให้ความรู้เรื่องการบริโภคอาหาร การดูแลสุขภาพ และจัดให้มีสถานที่ออกกำลังกาย
    4. ฟื้นฟูประเพณีที่ดีงาม ร่วมกิจกรรมศาสนา และส่งเสริมการนำความรู้มาปรับใช้ให้เกิดประโยชน์
    5. ฝึกอบรมและสัมมนาเชิงปฏิบัติการ การวิเคราะห์ปัญหา การจัดทำแผนพัฒนา การร่วมลงมือปฏิบัติ
    6. สนับสนุนเงินทุนในการประกอบอาชีพ
    7. ร่วมปฏิบัติการต่อต้านการค้าและการเสพยาเสพติด และสนับสนุนการฟื้นฟูผู้เสพยา
    8. จัดอบรมให้ความรู้ บทบาทหน้าที่ การพัฒนาบุคลิกภาพ การเป็นผู้นำและสนับสนุนงบประมาณในการพัฒนาบุคลากร ทำให้เกิดผลดีต่อส่วนรวม

     

    ดูรายละเอียด >>
    องค์การบริหารส่วนตำบลนาสะไมย์
    องค์การบริหารส่วนตำบลนาสะไมย์ อำเภอเมืองยโสธ จังหวัดยโสธร 35000.
    โทร. 045-756959 แฟกซ์ 045-756959 Email saraban@nasamai.go.th
    ประชาชน มีภูมิคุ้มกัน พึ่งพาตนเอง พอเพียง เป็นสุข
    เกี่ยวกับเรา    ติดต่อเรา
    ลิขสิทธิ์ © 2024-2025 องค์การบริหารส่วนตำบลนาสะไมย์. ขอสงวนไว้ซึ่งสิทธิทั้งหมดบนเว็บไซต์นี้. Power by เว็บอุบลดอทคอม